เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลดื้อยาข้ามกลุ่ม

Thirasak Chuchoet • May 31, 2024
รู้หรือไม่.? เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลดื้อยาข้ามกลุ่ม.!!

    ภายหลังการแพร่ระบาดครั้งใหญ่ในประเทศไทยของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล​ (brown planthopper (BPH): Nilaparvata lugens Stal) ช่วง​ปี​ ​พ.ศ.​ 2552-54 ซึ่งเป็นการระบาดรอบใหญ่ครั้งที่​ 4 ของประเทศไทย​ สร้าง​ความเสียภายให้กับนาข้าวเขตภาคกลาง​ ภาคเหนืิอตอนล่างและภาคตะวันตกเป็นอย่างมาก

    ช่วงนั้นเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลดื้อยาหลายชนิด​ สร้าง​ความตื้นตัวให้กับนักวิชาการเกี่ยวกับการดื้อยาของแมลงเป็นอย่างมาก เป็นที่มาของฉลากยาแมลงที่พาดหัวฉลากยาว่า  "ห้ามใช้ในนาข้าว"

    ภายหลังไม่นานมีรายงาน การดื้อยาข้ามกลุ่มสารกำจัดแมลงของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ระหว่างกลุ่ม 4A กับ กลุ่ม 9 ซึ่งเป็นผลมาจากเพลี้ยดื้อยากลุ่ม​ 4 แล้วกระโดดข้ามไปดื้อยากลุ่ม​ 9​ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเอนไซม์ไซโตโครม​ พี450 ซึ่งมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายยากลุ่ม 4 ได้ดี​ แต่เจ้ากรรมเอนไซม์ดังกล่าวกลับมีผลไปย่อยสลาย​ยากลุ่ม 9 ได้ดีไปด้วย จึงเกิดการดื้อยาข้ามกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์

หรือ.? เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน​จะเป็นรายถัดไป​ เพราะเพลี้ยทั้งคู่อยู่ในอันดับเฮมิพเทอร่า (Hemiptera) เหมือน​กัน

อ่านเพิ่มเติม…กลไกการดื้อยาข้าม

กลไกออกฤทธิ์ (Mode of Action) ของยากลุ่ม 19 ทำให้ไรเกิดอาการตื่นตัว ใจเต้นแรง สั่นและความดันขึ้นสูง
By Thirasak Chuchoet April 29, 2025
กลไกออกฤทธิ์ (Mode of Action) ของยากลุ่ม 19 ทำให้ไรเกิดอาการตื่นตัว ใจเต้นแรง สั่นและความดันขึ้นสูงจนนำไปสู่อาการชักกระตุก เป็นอัมพาตและลาโลกแบบไม่สมัครใจ คล้ายเสพยากระตุ้นประสาทเกินขนาด
    ATP: Adenosine Triphosphate เป็นสารชีวเคมีที่กักเก็บและปลดปล่อยให้พลังงานสูงที่สำคัญต่อพืช
By Thirasak Chuchoet April 25, 2025
ATP หรือ “เอทีพี” ย่อมาจาก อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (Adenosine Triphosphate) เป็นสารชีวเคมีที่กักเก็บและปลดปล่อยให้พลังงานสูงที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพืชทุกชนิด
แจกสูตร ผสมปุ๋ยเกล็ดพ่นทางใบโดยใช้แม่ปุ๋ยดวงตะวันเพชร สูตรสะสมอาหารก่อนเปิดตาดอกและสูตรเบรกใบอ่อน
By Thirasak Chuchoet April 23, 2025
แจกสูตร.!! ผสมปุ๋ยเกล็ดพ่นทางใบโดยใช้แม่ปุ๋ยดวงตะวันเพชร สูตรสะสมอาหารก่อนเปิดตาดอก และสูตรเบรกใบอ่อน-บล็อกใบอ่อน
เลือกใช้แมกนีเซียม (Mg) ตัวไหนดี.. ระหว่างแมกนีเซียมไนเตรท, แมกนีเซียมซัลเฟตเฮพตะไฮเดรต หรือแมกคีเลต
By Thirasak Chuchoet April 22, 2025
เลือกใช้แมกนีเซียม (Mg) ตัวไหนดี.. ระหว่างแมกนีเซียมไนเตรท, แมกนีเซียมซัลเฟตเฮพตะไฮเดรต หรือแมกนีเซียมคีเลต
ปุ๋ยแคลเซียมคลอไรด์ไม่ใช่ปุ๋ยร้อน ดั่งการอุปมาอุปไมยเป็นยาร้อน-ยาเย็น
By Thirasak Chuchoet April 21, 2025
ปุ๋ยแคลเซียมคลอไรด์ไม่ใช่ปุ๋ยร้อน ดั่งการอุปมาอุปไมยเป็นยาร้อน-ยาเย็น
เอกสาร
By Thirasak Chuchoet January 4, 2025
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการบรรยาย "การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ"
ปฏิสัมพันธ์ของธาตุอาหารพืช แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารพืชในแง่ของการเจริญเติบโต
By Thirasak Chuchoet December 3, 2024
ปฏิสัมพันธ์ของธาตุอาหารพืช แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารพืชในแง่ของผลกระทบที่ธาตุอาหารมีผลต่อการดูดซึมและการใช้ประโยชน์ของพืชในกระบวนการเจริญเติบโต
ผลกระทบของดินเค็มและน้ำเค็ม คือ พืชขาดน้ำ พืชขาดธาตุ ธาตุเป็นพิษ ดินเสีย
By Thirasak Chuchoet November 9, 2024
ผลกระทบของดินเค็มและน้ำเค็ม คือ 1) ทำให้พืชขาดน้ำ การเจริญเติบโตลดลง 2) พืชขาดธาตุบางชนิดหรือธาตุเป็นพิษ​ และ​ 3) ผลกระทบต่อโครงสร้างดิน​ กายภาพของดินเลวลง รากชอนไชยาก
แผลจากบั่วมะม่วงโอกินาวาเมื่อแผลเปลี่ยนเป็นสีดำ อาจทำให้เข้าใจว่าเกิดจากการเข้าทำลายของโรคแอนแทรคโนส
By Thirasak Chuchoet October 22, 2024
แผลที่เกิดจากบั่วมะม่วงโอกินาวาเมื่อแผลเปลี่ยนเป็นสีดำ อาจทำให้เข้าใจว่าเกิดจากการเข้าทำลายของโรคแอนแทรคโนส ซึ่งมีลักษณะแผลที่คล้ายคลึงกัน
บั่วปมมะม่วง เป็นแมลงขนาดเล็กรูปร่างเหมือนยุง มีหนวดและขายาว ซึ่งพบได้บ่อยในมะม่วงที่ขาดการดูแล
By Thirasak Chuchoet October 22, 2024
บั่วปมมะม่วง เป็นแมลงขนาดเล็กรูปร่างเหมือนยุง มีหนวดและขายาว ซึ่งพบได้บ่อยในมะม่วงที่ขาดการดูแลป้องกัน โดยเฉพาะช่วงออกดอก-ติดผล
More Posts