พันธุกรรมกำหนดการแสดงออกของพืช

Thirasak Chuchoet • May 27, 2024
พันธุกรรม​ (ยีน)​ กำหนดการแสดงออกของพืช

ภาพ: ใบชุดใหม่ของทุเรียนพันธุ์มูซังคิงที่มีขนาดใหญ่กว่าใบชุดเก่า หลังจากเปลี่ยนมาใส่ปุ๋ยสูตร 15-5-20 อาจเป็นเพราะมีฟอสฟอรัสตกค้างลดลงและจุลธาตุเป็นประโยชน์ต่อพืชมากขึ้น เป็นผลให้พืชได้รับจุลธาตุเพิ่มขึ้น

พันธุกรรม​ (ยีน)​ กำหนดการแสดงออกของพืช

    ปัจจัยที่ควบคุมการเจริญเติบโต​ของพืช​ แบ่งออกได้เป็น​ 2 ปัจจัย​ คือ ​ปัจจัยภายในและภายนอก​ ซึ่งเป็นตัวกำหนดการแสดงออกของสิ่งมีชีวิตรวมถึงพืช​ ในด้านรูปร่าง​ ขนาด​ ความสูง​ สีสัน​ รสชาติ​ของพืช​ ว่าจะมีลักษณะ​เป็นเช่น​ไร​ 

ปัจจัยภายใน​ คือ​พันธุกรรม​ หรืิอยีน​ (genetic) เป็นตัวกำหนดพิกัดสูงสุดของลักษณะ​ต่างๆ

ปัจจัยภายนอก​ จะเป็นตัวกำหนดว่า​ลักษณะ​ที่แสดงออกจะอยู่ในระดับใด

    ตัวอย่าง​ พืชที่ปลูกในที่เดียวกันและดูแล​เหมืิอนกัน​ ควรมีขนาดใบเท่ากัน​ แต่หากได้รับการใส่ปุ๋ยต่างสูตรกันจะมีขนาดใบที่แตกต่างกัน​ เช่น​ ต้นหนึ่งใส่ปุ๋ยสูตร​ 15​ ​เสมอ​ ใบจะมีขนาดปกติตามที่เห็นทั่วไป​ แต่เมื่ออีกต้นใส่ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัส​ (P)​ ต่ำ​ ไนโตรเจน​ (N) และ​โพแทสเซียม​ (K)​ สูง​ ใบจะมีขนาดใหญ่ขึ้น​ เช่น​ สูตร​ 15-5-20 หรือ​ 21-4-21

กลไกออกฤทธิ์ (Mode of Action) ของยากลุ่ม 19 ทำให้ไรเกิดอาการตื่นตัว ใจเต้นแรง สั่นและความดันขึ้นสูง
By Thirasak Chuchoet April 29, 2025
กลไกออกฤทธิ์ (Mode of Action) ของยากลุ่ม 19 ทำให้ไรเกิดอาการตื่นตัว ใจเต้นแรง สั่นและความดันขึ้นสูงจนนำไปสู่อาการชักกระตุก เป็นอัมพาตและลาโลกแบบไม่สมัครใจ คล้ายเสพยากระตุ้นประสาทเกินขนาด
    ATP: Adenosine Triphosphate เป็นสารชีวเคมีที่กักเก็บและปลดปล่อยให้พลังงานสูงที่สำคัญต่อพืช
By Thirasak Chuchoet April 25, 2025
ATP หรือ “เอทีพี” ย่อมาจาก อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (Adenosine Triphosphate) เป็นสารชีวเคมีที่กักเก็บและปลดปล่อยให้พลังงานสูงที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพืชทุกชนิด
แจกสูตร ผสมปุ๋ยเกล็ดพ่นทางใบโดยใช้แม่ปุ๋ยดวงตะวันเพชร สูตรสะสมอาหารก่อนเปิดตาดอกและสูตรเบรกใบอ่อน
By Thirasak Chuchoet April 23, 2025
แจกสูตร.!! ผสมปุ๋ยเกล็ดพ่นทางใบโดยใช้แม่ปุ๋ยดวงตะวันเพชร สูตรสะสมอาหารก่อนเปิดตาดอก และสูตรเบรกใบอ่อน-บล็อกใบอ่อน
เลือกใช้แมกนีเซียม (Mg) ตัวไหนดี.. ระหว่างแมกนีเซียมไนเตรท, แมกนีเซียมซัลเฟตเฮพตะไฮเดรต หรือแมกคีเลต
By Thirasak Chuchoet April 22, 2025
เลือกใช้แมกนีเซียม (Mg) ตัวไหนดี.. ระหว่างแมกนีเซียมไนเตรท, แมกนีเซียมซัลเฟตเฮพตะไฮเดรต หรือแมกนีเซียมคีเลต
ปุ๋ยแคลเซียมคลอไรด์ไม่ใช่ปุ๋ยร้อน ดั่งการอุปมาอุปไมยเป็นยาร้อน-ยาเย็น
By Thirasak Chuchoet April 21, 2025
ปุ๋ยแคลเซียมคลอไรด์ไม่ใช่ปุ๋ยร้อน ดั่งการอุปมาอุปไมยเป็นยาร้อน-ยาเย็น
เอกสาร
By Thirasak Chuchoet January 4, 2025
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการบรรยาย "การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ"
ปฏิสัมพันธ์ของธาตุอาหารพืช แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารพืชในแง่ของการเจริญเติบโต
By Thirasak Chuchoet December 3, 2024
ปฏิสัมพันธ์ของธาตุอาหารพืช แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหารพืชในแง่ของผลกระทบที่ธาตุอาหารมีผลต่อการดูดซึมและการใช้ประโยชน์ของพืชในกระบวนการเจริญเติบโต
ผลกระทบของดินเค็มและน้ำเค็ม คือ พืชขาดน้ำ พืชขาดธาตุ ธาตุเป็นพิษ ดินเสีย
By Thirasak Chuchoet November 9, 2024
ผลกระทบของดินเค็มและน้ำเค็ม คือ 1) ทำให้พืชขาดน้ำ การเจริญเติบโตลดลง 2) พืชขาดธาตุบางชนิดหรือธาตุเป็นพิษ​ และ​ 3) ผลกระทบต่อโครงสร้างดิน​ กายภาพของดินเลวลง รากชอนไชยาก
แผลจากบั่วมะม่วงโอกินาวาเมื่อแผลเปลี่ยนเป็นสีดำ อาจทำให้เข้าใจว่าเกิดจากการเข้าทำลายของโรคแอนแทรคโนส
By Thirasak Chuchoet October 22, 2024
แผลที่เกิดจากบั่วมะม่วงโอกินาวาเมื่อแผลเปลี่ยนเป็นสีดำ อาจทำให้เข้าใจว่าเกิดจากการเข้าทำลายของโรคแอนแทรคโนส ซึ่งมีลักษณะแผลที่คล้ายคลึงกัน
บั่วปมมะม่วง เป็นแมลงขนาดเล็กรูปร่างเหมือนยุง มีหนวดและขายาว ซึ่งพบได้บ่อยในมะม่วงที่ขาดการดูแล
By Thirasak Chuchoet October 22, 2024
บั่วปมมะม่วง เป็นแมลงขนาดเล็กรูปร่างเหมือนยุง มีหนวดและขายาว ซึ่งพบได้บ่อยในมะม่วงที่ขาดการดูแลป้องกัน โดยเฉพาะช่วงออกดอก-ติดผล
More Posts